• ส่งหัวข้อที่อยากให้เว็บลงบทความ
  • WORD
  • EXCEL
  • Windows 10
  • Windows 7
  • รับดูแลระบบคอมพิวเตอร์
Wednesday, March 29, 2023
  • HOME
  • Windows
    • Windows 11
    • Windows 10
    • Windows 8/8.1
    • Windows 7
  • Windows Server
    • Windows Server 2012
    • Windows Server 2016
    • Windows Server 2019
  • Microsoft Office
    • MS. Excel
    • MS. OneNote
    • MS. Outlook
    • MS. PowerPoint
    • MS. Publisher
    • MS. Word
  • Other Software
    • Antivirus
    • Drivers
    • File Transfer
    • Multimedia
    • Networking
    • Photos / Images
    • Web Browser
    • Office
    • Tools
    • Virtual machine
    • Data Recovery
  • สมาร์ทโฟน
    • Android
    • iOS
  • News
No Result
View All Result
NONGIT.COM
Advertisement
  • HOME
  • Windows
    • Windows 11
    • Windows 10
    • Windows 8/8.1
    • Windows 7
  • Windows Server
    • Windows Server 2012
    • Windows Server 2016
    • Windows Server 2019
  • Microsoft Office
    • MS. Excel
    • MS. OneNote
    • MS. Outlook
    • MS. PowerPoint
    • MS. Publisher
    • MS. Word
  • Other Software
    • Antivirus
    • Drivers
    • File Transfer
    • Multimedia
    • Networking
    • Photos / Images
    • Web Browser
    • Office
    • Tools
    • Virtual machine
    • Data Recovery
  • สมาร์ทโฟน
    • Android
    • iOS
  • News
No Result
View All Result
NONGIT.COM
No Result
View All Result
Home Windows Windows 10

วิธีย้าย Desktop เปลี่ยนไปเก็บที่ไดร์ D หรืออื่นๆ Windows 7/8.1/10

by เกร็ดสาระความรู้ไอที
21 January 2023
in Windows 10, Windows 7, Windows 8/8.1
0
ShareShare
ADVERTISEMENT

แนะนำวิธีการตั้งค่าย้าย Desktop ไปไดรฟ์ D หรือ ไดรฟ์อื่นๆ ซึ่งจะเปลี่ยนที่เก็บ desktop จากไดรฟ์ c ไปที่ไดรฟ์ d ที่อยู่ในเครื่องคอม เพื่อลดการใช้พื้นที่ของไดรฟ์ C ช่วยเพิ่มพื้นที่ไดรฟ์ c กลับมา จะช่วยลดปัญหาของเครื่องที่มีพื้นที่ไดรฟ์ C น้อย เพราะผู้ใช้งานหลายๆคนมักจะวางข้อมูลไว้ที่หน้า Desktop ดังนั้นจึงเป็นส่วนที่ทำให้ไดรฟ์ C เต็มเร็ว วิธีแก้ไขคือ ย้าย desktop ไปไดร์อื่น

การย้าย Desktop เก็บไว้ที่ Drive D หรือ E

Desktop โดยปกติแล้วจะเก็บไว้ที่ไดร์ C:\Users\<Username>\Desktop คงมีหลายๆคนที่ชอบวางข้อมูลไว้ที่หน้า Desktop เพราะง่ายต่อการเปิดใช้งาน ไม่ต้องเข้า Folder หลายๆที่ให้ซับซ้อน หรือ Folder Downloads ที่จะอยู่ C:\Users\<Username>\Downloads ที่มีการโหลดไฟล์ต่าง และสะสมเป็นเวลานาน

ปัญหาที่ทำให้ไดรฟ์ C เต็มเร็ว

ซึ่งปัญหาคือจะทำให้ไดร์ฟ C:/ มีการใช้พื้นที่เยอะ และจะเป็นสาเหตุที่ทำให้ไดร์ฟ C เต็มไวกว่าไดร์ D นั้นเอง และ คงเคยเจอเหตุการณ์ตอนที่จะลง windows ใหม่ หรือ windows error ถึงขั้นต้อง format  windows แล้วต้องมาย้ายข้อมูลไปเก็บที่ไดร์ D:/ หรือไดร์อื่น แต่หาก windows เสียหายจนไม่สามารถเปิดเข้า Desktop ได้ ก็จะไม่สามารถย้ายข้อมุลไปเก็บได้ จึงทำให้ยากในการ Backup

ADVERTISEMENT

ย้าย Desktop ให้ไปใช้พื้นที่ไดรฟ์ D

ดังนั้นวันนี้จึงมีวิธีการย้ายที่เก็บข้อมูลของ Desktop ไปเก็บไว้ที่ไดร์ D:/ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าวมา ซึ่งสามารถใช้งานเหมือนเดิมเพียงแต่เปลี่ยนที่เก็บของข้อมูล และขั้นตอนนี้สามารถใช้ได้กับ \Downloads , \Music , \Pictures , \Videos , \Documents ด้วยครับ  โดยขั้นตอนนี้รองรับทั้ง Windows 7, Windws 8, Windows 8.1, Windows 10 ครับ

ย้าย Desktop เก็บไว้ที่ไดร์อื่นๆ

1. ก่อนอื่นเราต้อง ปิดไฟล์ทั้งหมด เช่นไฟล์ข้อมูล excel, word เป็นต้น ที่อยู่ใน desktop หรือ โฟลเดอร์ที่เราจะย้ายไปครับ

2. โดยก่อนอื่นให้เราเปิดไปที่ C:\Users\<Username>\Desktop ซึ่งให้เข้าที่ Computer หรือที่เรียกกันติดปากว่า My Computer

Desktop-1

3. ตามด้วยเข้าที่ Drive C:/

Desktop-2

4. จากนั้นคลิกไปที่โฟลเดอร์ Users

Desktop-3

5. เลือกชื่อ Username ของเราที่ใช้งานอยู่ (ในที่นี้เลือก Username: Dell)

Desktop-4

6. เมื่อเข้า Folder Administrator ก็จะเจอกับ Folder Desktop ที่จะทำการย้าย ให้ทำการคลิกขวาที่ Folder Desktop แล้วเลือก Properties

Desktop-5

7. จากนั้นคลิกแท็ป Location แล้วจะมองเห็นที่เก็บของ Folder Desktop ซึ่งตามตัวอย่างคือ C:\Users\<Username>\Desktop ให้ทำการเปลี่ยนเป็น D:\Desktop หรือจะเปลี่ยนเป็น D:\Usera\Desktop เลือกได้ตามที่ต้องการ
คำอธิบาย

  • D:\ คือไดร์ที่เราต้อการย้ายไป เราอาจจะเป็น E:\ หรือ F:\  ตามที่เราต้องการ
  • Users คือ Sub-Folder ก่อนถึงโฟลเดอร์ Desktop ซึ่งโฟลเดอร์ตัวนี้เราจะตั้งชื่ออะไรก็ได้ หรือเราจะไม่ต้องมีโฟลเดอร์นี้ก็ได้
  • Desktop คือโฟลเดอร์เดสท๊อปเราที่จะเปลี่ยนที่เก็บ
desktop-2016-12-16-20-03-24

8. เมื่อทำการกำหนดเรียบร้อยให้เราคลิกปุ่ม OK

desktop-2016-12-16-20-03-45

9. จากนั้นจะมีหน้าต่างแจ้งไม่มี folder ที่เราจะย้ายไป เราจะสร้างโฟลเดอร์เลยไหม คลิก Yes ไปครับ

desktop-2016-12-16-20-04-25

10. คลิก Yes ยืนยันการย้ายที่อยู่โฟลเดอร์ จากนั้นจะทำการ Move ข้อมูลทั้งหมดไปยังที่ใหม่ ให้เรารอจนกว่าจะย้ายเสร็จ

desktop-2016-12-16-20-04-38

11. รอย้ายข้อมูล เก็บไว้ตามที่ได้ทำการตั้งค่าไว้

2016-12-16_20-57-12

12. หลังจากย้ายเสร็จแล้วก้อจะมีข้อมูลใน Folder Desktop ที่ได้ทำการสร้างไว้ เหมือนข้อมูลที่ Desktop

desktop-2016-12-16-20-05-42
  • จากนั้นก็เก็บข้อมูลไว้ที่หน้า Desktop ได้อย่างหายห่วงได้เลยครับ
  • วิธีการนี้สามารถนำไปใช้กับ Folder My Documents, Downloads, My Pictures, My Music, My Videos หรือ Folder อื่นๆที่อยู่ภายใต้ Folder Username ของเรา
Tags: DesktopHow ToTrick WindowsUserswindows 10windows 7Windows 8.1วิธีการวิธีทำ
ADVERTISEMENT

Related Posts

ปักหมุดโปรแกรมไว้ Taskbra
Windows 10

ปักหมุดโปรแกรมที่ใช้บ่อยไว้ Taskbra /Start menu Windows 11/10

25 February 2023
ปิดแถบสภาพอากาศ taskbar windows 10
Windows 10

ปิดสภาพอากาศ และข่าวที่แถบ Taskbar Windows 10

14 August 2022
แก้ไข Error 0x0000011b
Windows 10

Windows 10/11 แอดเครื่องปริ้นจาก Network ไม่ได้ Error 0x0000011b

22 July 2022
ปิดแชร์โฟลเดอร์ windows
Windows

วิธีปิดแชร์โฟลเดอร์ / ปิดแชร์ไฟล์ที่เปิดไว้ Windows 10/11

30 May 2022
เปลี่ยน Username ที่เคย Login เข้า File share ใน Windows
Windows 10

วิธีเปลี่ยน User หรือลบ User ที่เคยเข้า File share ในวงแลน

24 May 2022
เพิ่มไอคอน Taskbar
Windows 10

วิธีเพิ่มไอคอนที่ Taskbar Windows 10/11

21 March 2022
Load More
Next Post
วิธีการทำสารบัญใน Microsoft word

วิธีการสร้างสารบัญ Microsoft Word อัพเดทหน้าให้อัตโนมัติ ง่ายๆ

แสดงความคิดเห็นในโพสต์นี้

Follow us

ADVERTISEMENT

โพสต์ล่าสุด

ปักหมุดโปรแกรมที่ใช้บ่อยไว้ Taskbra /Start menu Windows 11/10

วิธีจัดหน้ากระดาษ Word แนวนอนแนวตั้งในเอกสารเดียวกัน

วิธี Reset this pc คืนค่า Windows 11 เหมือนลงใหม่อีกรอบ

ปิด folders / files เปิดล่าสุดไม่ให้แสดงที่ Quick Access Windows 11

โพสต์แนะนำ

[Fix issue] วิธีแก้ไข Windows 10 กดเปลี่ยนภาษาไทย 2 ครั้งหลังอัปเดต v1803

ดาวน์โหลดและติดตั้ง 13 ฟอนต์ราชการ (TH Sarabun psk, new) ใน Windows 10

ทำรายงานใน Microsoft Word โดยพิมพ์งานด้วยเสียงผ่าน Google Docs

ใช้ Google Drive แปลงข้อความในไฟล์รูปภาพ เป็นข้อความรองรับภาษาไทย 100%

Prev Next

“น้องไอทีดอทคอม”

เป็นชื่อเว็บไซต์ที่ได้มาจากการที่เพื่อนร่วมงานภายในบริษัทชอบใช้คำนี้เรียกพนักงานฝ่ายไอทีเสมอ เช่น "น้องไอทีช่วยดูคอมพิวเตอร์ให้พี่หน่อย" จึงเป็นที่มาของชื่อเว็บไซต์ น้องไอทีดอทคอม

ซึ่งเว็บจะแชร์บทความเกี่ยวกับ Windows , Microsoft Office, Freeware, Software อื่นๆ เป็นการแนะนำแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ การตั้งค่า ทิปต่างๆ ซึ่งคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน

บริการจาก น้องไอทีดอทคอม

บริการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ | IT Outsource | เดินสายแลน | รับทำ seo ราคาถูก | รับดูแลระบบคอมพิวเตอร์ | รับวางระบบ server | รับวางระบบ network | วางระบบคอมพิวเตอร์ | บริการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ รายเดือน | บริการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ รายปี | รับเดินสายแลน | วางระบบแลน | ติดตั้งระบบเซิฟเวอร์

ปักหมุดโปรแกรมที่ใช้บ่อยไว้ Taskbra /Start menu Windows 11/10

วิธีปักหมุดห้องแชท Line ที่คุยกันบ่อยๆ

วิธีตั้งค่า Microsoft Edge ให้ Search ค้นหาด้วย Google เป็น Default

วิธีการตั้งค่า ไอพี (IP Address) คอมพิวเตอร์

เรียงตัวเลข หรือ รันตัวเลขลำดับอัตโนมัติ ms Excel

วิธีเปลี่ยนรหัส Hotmail หรือ Outlook.com เพื่อความปลอดภัย

Donate

Donate / สนับสนุนเว็บ

Follow us

© 2014 - 2022 - NONGIT.COM. All Rights Reserved. Website Design: IT Golf

No Result
View All Result
  • HOME
  • Windows
    • Windows 11
    • Windows 10
    • Windows 8/8.1
    • Windows 7
  • Windows Server
    • Windows Server 2012
    • Windows Server 2016
    • Windows Server 2019
  • Microsoft Office
    • MS. Excel
    • MS. OneNote
    • MS. Outlook
    • MS. PowerPoint
    • MS. Publisher
    • MS. Word
  • Other Software
    • Antivirus
    • Drivers
    • File Transfer
    • Multimedia
    • Networking
    • Photos / Images
    • Web Browser
    • Office
    • Tools
    • Virtual machine
    • Data Recovery
  • สมาร์ทโฟน
    • Android
    • iOS
  • News

© 2014 - 2022 - NONGIT.COM. All Rights Reserved. Website Design: IT Golf

This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.